วันจันทร์ที่ 19 ธันวาคม พ.ศ. 2559


สื่อ ของเล่นจากวัสดุเหลือใช้

นำเสนอ → รถเคลื่อนที่ด้วยหนังยาง


หลักการ


***แต่ต้องนำกลับมาแก้ไข เพราะรถเคลื่อนช้ามาก ซึ่งต่างจากคลิปที่นำมาเป็นตัวอย่าง จึงเป็นมาทำเป็นเก้าอี้จากขวดน้ำ


วัสดุ/อุปกรณ์
  1. ขวดน้ำ(เล็ก) 18 ขวด
  2. กาวติดพลาสติก
  3. เทปกาว
  4. กระดาษลัง
  5. ถุงดำ ขนาด 24*28 
  6. กรรไกร
  7. กระดาษสี / อุปกรณ์ตกแต่ง
  8. หมอน


ขั้นตอนการทำ
  1. นำขวดน้ำขนาดเท่ากัน 18 ขวด(เล็ก)มาเรียง 3 แถว แถวละ 6 ขวด
  2. ติดกาวระหว่างขวด ด้วยกาวติดพลาสติก
  3. พันเทวกาวรอบๆ ขวดอีกครั้งเพื่อให้ได้ทรงสี่เลหี่ยมและแน่นหนา
  4. ติดกระดาษลังรอบๆให้ผิวด้านข้างเรียบเนียน
  5. เมื่อติดกระดาษลังรอบๆทรงขวดน้ำแล้ว เอาถุงดำครอบรอบๆอีกที ให้เรียบและดูเรียบร้อย
  6. เมื่อได้รูปทรงตามต้องการก็ตกแต่งด้วยกระดาษสีรอบๆ ติดกระดาษไว้ที่ถุงดำ ตามไอเดียที่คิดไว้
  7. นำหมอนนุ่มมาติดไว้ด้านที่นั่งสำหรับรองนั่งให้เกิดความสบาย เป็นอันเสร็จเรียบร้อยค่ะ



วันพุธที่ 30 พฤศจิกายน พ.ศ. 2559


บันทึกการเรียนครั้งที่ 14
วันจันทร์ ที่ 28 พฤศจิกายน 2559

เนื้อหาการเรียน

  • พูดคุยทุกอย่างที่ได้เรียนมา และส่งใบปั๊มรายชื่อ เพื่อแจกรางวัลเด็กดี  พร้อมทั้งแจกสีและข้อสอบเพื่อไปทำที่บ้าน และส่งในวันที่ 8 ธันวาคม 2559

วันเสาร์ที่ 26 พฤศจิกายน พ.ศ. 2559


บันทึกการเรียนครั้งที่ 13
วันจันทร์ ที่ 21 พฤศจิกายน 2559

เนื้อหาการเรียน

  • อาจารย์ให้รำวงไปเรื่อยๆและร้องเพลงเพื่อแบ่งกลุ่ม  จากนั้นก็ให้ทำกิจกรรมแสดงละคร ตามความคิดของตน โดยมีข้อกำหนดว่า ถ้าหากสัตว์หรือสิ่งมีชีวิตพูดได้ เรื่องราวจะเป็นอย่างไร
กิจกรรมที่ 1
บทของกลุ่มเรา เรื่อง   ยีราฟกระหายน้ำ

กลุ่มของเพื่อนๆ






กิจกรรมที่ 2 เคาะจังหวะจากร่างกาย




การนำไปใช้
  •  การแสดงละครสามารถนำไปใช้กับเด็กๆในการเล่นบทบาทสมมุติ ช่วยพัฒนาการในทุกๆด้าน
  • การเล่นเคาะจังหวะ จากอวัยวะ เป็นความคิดสร้างสรรค์ที่เราต้องคิดว่า จะทำอย่างไรให้เกิดเสียงในร่างกาย ซึ่งสามารถทำได้หลายรูปแบบ เช่น ปรบมือ เคาะ ตบตัก เสียงจากปาก เป็นต้น
การประเมิน
ผู้สอน - มีกิจกรรมที่ดี สร้างสรรค์นำมาสอน ให้ผู้เรียนได้จุดประกายและต่อยอดจากกิจกรรม
ผู้เรียน - สนุกกับกิจกรรมและได้ความคิดมากมาย



วันศุกร์ที่ 18 พฤศจิกายน พ.ศ. 2559

บันทึกการเรียนครั้งที่ 12
วันจันทร์ 14 พฤศจิกายน 2559

***ขาดเรียน อ้างอิงจาก นางสาวนันทนาภรณ์  คำอ่อน
http://pple2559.blogspot.com/2016/11/12-14.html
บันทึกการเรียนครั้งที่ 12
วันจันทร์ ที่ 14 เดือนพศจิกายน พ.ศ.2559 (เวลา 08.30-12.30น.)

เนื้อหาที่เรียน

        การสอนเคลื่อนไหว เพื่อบูรณาการการเรียนรู้ศิลปสร้างสรรค์ ก่อนเข้าสู่เนื้อหาอาจารย์ได้ทบทวนความรู้เดิมประเภทของกิจกรรมเคลื่อนไหวและจังหวะ เพื่อนำมาจัดกิจกรรมบูรณาการสู่กระบวนการคิด
จากนั้นก็ได้นั่งเป็นกลุ่มย่อยๆเพื่อเลือกกิจกรรมเคลื่อนไหวและจังหวะและออกแบบขั้นสอนการสอนของแต่ละกลุ่ม เมื่อเลือกกิจกรรมและเขียนขั้นตอนเสร็จแค่ละกลุ่มก็ออกมาสอน


การเรียนการสอนในวันนี้
















กลุ่มที่ 1 สอนเคลื่อนไหวตามข้อตกลง











กลุ่มที่ 2 สอนการเคลื่อนไหวประกอบเพลง










กลุ่มที่ 3 สอนการเคลื่อนไหวผู้นำผู้ตาม










กลุ่มที่ 4 สอนการเคลื่อนไหวตามำบรรยาย












กลุ่มที่ 5 กลุ่มดิฉันสอนการเคลื่อนไหวแบบจำ









กลุ่มที่ 6 สอนการเคลื่อนไหวตามคำสั่ง









การนำความรู้ไปประยุกต์ใช้
- กิจกรรมศิลปสร้างสรรค์สามารถออกแบบกิจกรรมได้หลากหลาย เช่น กิจกรรมการเคลื่อนไหวตามคำสั่ง ให้เด็กนำปากกาต่อเป็นรูปดอกไม้ เด็กๆก็ได้ริเริ่มการออกแบบดอกไม้



การประมินผล
ประเมินตนเอง : ในขั้นตอนการสอนก็ยังไม่แม่นยำ ยังต้องพัฒนาการสอนอีกเยอะ
ประเมินเพื่อน : เพื่อนๆหลายคนสามารถสอนได้ในระดับดี มีส่วนน้อยที่ต้องปรับปรุง
ประเมินอาจารย์ : อาจารย์อธิบายขั้นการสอนเคลื่อนไหวที่เชื่อมการคิดได้ละเอียดดี

วันจันทร์ที่ 7 พฤศจิกายน พ.ศ. 2559


บันทึกการเรียนครั้งที่ 11
วันจันทร์ ที่ 7 พฤศจิกายน2559

เนื้อหาการเรียน

  • วันนี้นำเสนอของเล่นที่ทำจากวัสดุเหลือใช้ที่ได้เสนอต่ออาจารย์เมื่อคาบที่แล้ว มีตัวอย่างของเล่นดังนี้







-ของเล่นของฉัน คือ รถหนังยาง มีแนวคิดจากคลิปนี้

 

ต้องนำไปปรับปรุง เพราะมันเคลื่อนที่ได้ช้า

การนำไปใช้
  • นำของเหลือใช้มาทำประโยชน์ได้หลากหลาย อีกทั้งยังประหยัดค่าใช้จ่าย จากการซื้อของใหม่ได้
การประเมิน
ผู้สอน - แต่งกายเรียบร้อบ ให้คำแนะนำที่ดี สำหรับของเล่นหรือของใช้ที่ต้องนำไปปรับปรุง
ผู้เรียน - ทำการทดลองของตนเอง แต่ต้องมีการปรับเปลี่ยนเพื่อความสมบูรณ์ และสนใจในงานของเพื่อนๆอย่างดี



วันเสาร์ที่ 5 พฤศจิกายน พ.ศ. 2559


บันทึกการเรียนครั้งที่ 10
วันจันทร์ ที่ 31 ตุลาคม 2559

เนื้อหาการเรียน 

  • อาจารย์ตั้งคำถามแก่นักศึกษา เพราะอะไร ความคิดสรา้งสรรค์ จึงมีมากกว่าวิทยาศาสตร์ ?
เป้าหมาย คือเพื่อส่งเสริมพัฒนาการทั้ง 4 ด้น
ตรงการ คือ กิจกรรมที่จะบูรณาการ
ต้นทางคืออะไร ? ตอบ ก้คือพัฒนาการทั้ง 4 ด้านของเด็กที่มันจะต้องมาเชื่อมโยงกัน ด้วยศาสตร์หลายแขนง การจัดประสบการณ์จะเป็นการบูรณาการเพื่อใช้ในชีวิตประจำวัน

วิธีการเรียนรู้ผ่านประสาทสัมผัสทั้ง 5
เหมาพสมพัฒนาการ สอดคล้องกับวิธรการเรียนรู้ มีความคิดสร้างสรรค์

กิจกรรม 
อาจารย์ให้จัดเป็น 3 กลุ่ม และจับฉลาก เพื่อเป็นวัสดุในการประดิษฐ์ เราได้ขวดน้ำ จะประดิษฐ์จรวด
เพื่อนๆก้ออกความคิดเห้นของแต่ละคนในการประดิษฐ์ของเล่นของตนและให้อาจารย์พิจารณาว่าเหมาะสมหรือไม่

การนำไปใช้
  • การใช้วัสดุเหลือใช้ในการประดิษฐ์ของเล่น ซึ่งเป็นอีกหนึ่่งความคิดสร้างสรรค์
การประเมิน
ผู้สอน ; ให้ความรุ้ได้ดีเกี่ยวกับการทำของเล่นจากวัสดุเหลิอใช้
ผู้เรียน ; ตั้งใจเรียนและหาของเล่นที่จะทำ


วันอังคารที่ 25 ตุลาคม พ.ศ. 2559

บันทึกการเรียนครั้งที่ 9
วันจันทร์ ที่ 24 ตลาคม 2559

***หยุดชดเชยเนื่องจากวันปิยะมหาราช